วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560

คอมพิวเตอร์สำหรับสำนักงาน

 สเปคคอมพิวเตอร์ไม่เกิน 16,000 บาท

 
ใบเสนอราคา


 

URL : https://notebookspec.com/pc/2784392

วันพุธที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2560

มาตรฐานการ์ดเสียงออนบอร์ด เก่าและใหม่


มาตารฐานเก่าเริ่มแรก

AC ‘97 มาตรฐานการ์ดเสียงออนบอร์ด

ในทุกวันนี้ เราซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งานในราคาประหยัด มักจะมีสิ่งต่างๆ วางเรียงรายบนเมนบอร์ด เพื่อราคาที่เราคว้าถึง และหนึ่งในนั้นคือ Sound CardSound Card ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราพูดได้ (ฮา) และที่เราพบเห็นๆ ถึงเทคโนโลยีที่ใช้นั้น นับวันจะมีความสามารถมากขึ้น อย่างเทคโนโลยี Audio Codec ‘97 หรือที่เราเห็นติดตา ได้ยินติดหูว่า AC ‘97 นั้นเอง โดยมาตรฐานของ AC ‘97 มีรายละเอียดดังนี้…

AC ‘97 Version 1.0 กำหนดให้สเปคพื้นฐานของระบบเสียงนั้นจำเป้นต้องมี การเชื่อมต่อลำโพงอย่างน้อย 2 ตัว มีการเชื่อต่อกับซีดีรอม ซึ่งเป็นความต้องการพื้นฐาน

AC ‘97 Version 2.1 เพิ่มความสามารถพื้นฐานขึ้นมาอีกหน่อยครับ โดยเราสามารถเชื่อต่อลำโพงได้มากกว่า 2 ตัว

AC ‘97 Version 2.2 ความสามารถก็เพิ่มขึ้นมาอีกขั้น โดยมีการรองรับการเชื่อมต่อแบบ S/PDIF ทำให้เสียงที่ถูกส่งมาในรูปแบบดิจิตอล ถูกถอดรหัสที่ลำโพงโดยตรง ในวิธีการนี้ จะทำให้ระบบเสียงของเราคมชัดมากขึ้น

AC ‘97 Version 2.3 ได้เพิ่มการปรับแต่งคุณสมบัติต่างๆ ได้ด้วยตนเอง และมีระบบเตือนในกรณีเราต่อหัวต่อผิด โดยจะมีเสียงปี๊บๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ดังออกมา นับเป็นสิ่งที่ดีขึ้นมาก


มาตารฐานแบบใหม่ High Definition Audio





เมื่อ Analog Codec '97 ได้รับการพัฒนาครั้งแรกผู้ใช้มักจะฟังเฉพาะเพลงและภาพยนตร์ที่มีระบบเสียงสเตอริโอ ด้วยความสำเร็จของภาพยนตร์ DVD ที่มีการเข้ารหัสด้วยรูปแบบเสียงหลายช่องแบบ Dolby Digital * และ DTS * ผู้ใช้จึงเริ่มคุ้นเคยกับการฟังเสียงเซอร์ราวด์เต็มรูปแบบด้วยลำโพง 6-8 ตัว ในขณะที่เทคโนโลยี Analog Codec '97 ได้พยายามที่จะก้าวทันกับความก้าวหน้าเหล่านี้ทั้งหมดIntel® High Definition Audio ถูกออกแบบมาเฉพาะสำหรับประสบการณ์ด้านเสียงคุณภาพสูงหลายช่องทาง อัลกอริทึมการเข้ารหัสและถอดรหัสภาพและเสียงใหม่กว่านี้ยังช่วยให้การรับฟังคุณภาพสูงขึ้น
ผู้บริโภคจำนวนมากขึ้นกำลังย้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ไปที่ห้องนั่งเล่นหรือห้องครอบครัวเพื่อให้พวกเขาสามารถเพลิดเพลินกับเพลงดิจิตอลหรือภาพยนตร์ทั่วบ้านได้ด้วยระบบเสียงมัลติแชนเนลอันทันสมัยหรือทีวีจอใหญ่ ข้อ จำกัด ของระบบย่อยเสียงของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ข้อ จำกัด ของระบบย่อยเสียงในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็น Integrated หรือ Add-in สามารถทำให้ประสบการณ์ดิจิตอลโดยรวมลดลงได้
ผู้บริโภคจำนวนมากยังขอความสามารถในการเล่นสองเสียงที่แตกต่างกันผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์ของพวกเขาในเวลาเดียวกันอาจเพลงคลาสสิกในการศึกษาและภาพยนตร์ในห้องนั่งเล่น ความต้องการเหล่านี้ไม่สามารถพบกับโซลูชันเสียงก่อนหน้าได้






ประสบการณ์เสียงยอดเยี่ยม

Intel HD Audio มีการปรับปรุงที่สำคัญกว่าการ์ดเสียงและการ์ดเสียงรุ่นก่อน ๆ ฮาร์ดแวร์ Intel HD Audio สามารถรองรับการรองรับและคุณภาพเสียงได้สูงสุด 8 แชนแนลที่คุณภาพ 192 kHz / 32 บิตขณะที่ข้อกำหนด Analog Codec '97 สามารถรองรับช่องสัญญาณได้ 6 ช่องที่ 48 kHz / 20-bit เท่านั้น นอกจากนี้ Intel HD Audio ยังจัดทำขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาหรือมีปัญหาด้านเสียงที่อาจเกิดขึ้นโดยการให้แบนด์วิดท์ของระบบโดยเฉพาะสำหรับฟังก์ชั่นเสียงที่สำคัญ






การใช้นวัตกรรมสำหรับบ้านดิจิตอล

Dolby Laboratories เลือกใช้ Intel HD Audio เพื่อนำเทคโนโลยีคุณภาพเสียงรอบทิศทาง Dolby ไปใช้กับเครื่องพีซีในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการโลโก้พีซีที่ประกาศเมื่อเร็ว ๆ นี้ การรวมกันของเทคโนโลยีเหล่านี้นับเป็นก้าวสำคัญในการนำเสนอระบบเสียงดิจิตอลที่มีคุณภาพแก่ผู้บริโภค Intel HD Audio สามารถรองรับเทคโนโลยี Dolby ทั้งหมดรวมถึง Dolby Pro Logic * IIx ล่าสุดซึ่งทำให้สามารถเพลิดเพลินกับเนื้อหาสเตอริโอเก่า ๆ ในระบบเสียงรอบทิศทาง 7.1 แชนเนล
  • Intel® G965, P965, Q965, Q963, 946GZ และ 946PL Express Chipsets
  • Intel® 975X, 955X, 945G และ 945P Express Chipsets
  • ชิปเซ็ตIntel® 925XE และ 925X Express
  • Intel® 915G, 915P, 915GV, 915GL และ 915PL Express Chipsets
  • ชิปเซ็ตIntel® 910GL Express
ผู้บริโภคยังต้องการความสามารถในการเล่นแทร็คเสียงสองแทร็คที่แตกต่างกันได้เช่นซีดีและดีวีดีซึ่งไม่สามารถทำได้โดยใช้โซลูชันเสียงในปัจจุบัน Intel HD Audio มีคุณสมบัติมัลติสตรีมมิ่งที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถส่งข้อมูลเสียงที่ต่างกันไปสองแห่งไปยังสถานที่อื่นได้ในเวลาเดียวกันจากพีซีเครื่องเดียวกัน
Microsoft เลือกใช้ Intel HD Audio เป็นสถาปัตยกรรมหลักสำหรับ Universal Audio Architecture * (UAA) ซึ่งมีไดร์เวอร์หนึ่งตัวที่สนับสนุนคอนโทรลเลอร์ Intel HD Audio และตัวแปลงสัญญาณทั้งหมด ในขณะที่ไดรเวอร์ Microsoft คาดว่าจะสนับสนุนฟังก์ชั่นพื้นฐานของ Intel HD Audio ผู้จัดจำหน่าย codec คาดว่าจะสร้างความแตกต่างให้กับโซลูชั่นของพวกเขาโดยนำเสนอโซลูชั่นเสียง Intel HD ที่ปรับปรุงใหม่ ผลที่ได้คือเครื่องเสียงบนพีซีที่มีคุณภาพสูงที่ให้ความบันเทิงแบบดิจิตอลได้อย่างไร้รอยต่อระหว่างพีซีและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภค






คุณลักษณะขั้นสูง

Intel HD Audio ยังช่วยให้การจับภาพด้วยเสียงเพิ่มขึ้นผ่านการใช้ไมโครโฟนแบบอาร์เรย์ทำให้ผู้ใช้ป้อนคำพูดได้แม่นยำยิ่งขึ้น แม้ว่าการใช้งานระบบเสียงอื่น ๆ จะได้รับการสนับสนุนอย่าง จำกัด สำหรับไมโครโฟนอาร์เรย์ที่เรียบง่าย Intel HD Audio สนับสนุนไมโครโฟนขนาดใหญ่ เมื่อเพิ่มขนาดไมโครโฟนอาร์เรย์ผู้ใช้จะได้รับข้อมูลที่สะอาดอย่างไม่น่าเชื่อผ่านการตัดเสียงรบกวนที่ดีขึ้นและการสร้างลำแสง การรับส่งข้อมูลด้วยเสียงผ่าน IP (VoIP) และกิจกรรมเกี่ยวกับเสียงอื่น ๆ
นอกจากนี้ Intel HD Audio ยังมีการปรับปรุงที่ช่วยให้สามารถเก็บข้อมูลได้ดีขึ้น คอมพิวเตอร์สามารถรับรู้ได้เมื่อเสียบอุปกรณ์เข้ากับแจ็คสัญญาณเสียงแล้วกำหนดอุปกรณ์ชนิดใดและเปลี่ยนฟังก์ชันพอร์ตถ้าอุปกรณ์ถูกเสียบเข้ากับพอร์ตที่ไม่ถูกต้อง ตัวอย่างเช่นหากเสียบไมโครโฟนเข้ากับแจ็คลำโพงคอมพิวเตอร์จะรับรู้ข้อผิดพลาดและจะสามารถเปลี่ยนแจ็คเพื่อทำหน้าที่เป็นช่องเสียบไมโครโฟนได้ นี่เป็นขั้นตอนสำคัญในการรับสัญญาณเสียงไปยังจุดที่ "ใช้งานได้" - ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องกังวลเกี่ยวกับการให้อุปกรณ์ถูกเสียบเข้ากับช่องเสียบเสียงขวา






คำตอบสำหรับอนาคต

ออกแบบมาสำหรับการเล่นเสียง "ปราศจากข้อผิดพลาด" การเล่นหลายรูปแบบสตรีมมิ่งสตรีมแจ็คและการสนับสนุน UAA Intel HD Audio นำเสนอโซลูชั่นด้านเสียงสำหรับปีต่อ ๆ ไป ในฐานะที่เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่นำมาใช้กับตระกูลชิปเซ็ตIntel® 955X, 925, 915 และ 910 Express และตอนนี้ครอบครัวชิปเซ็ตIntel® 945 Express ชิปเซ็ต Intel HD Audio ช่วยเพิ่มประสบการณ์การใช้งานของผู้ใช้และช่วยให้การทำงานร่วมกันของความบันเทิงแบบดิจิตอล สำหรับเครื่องพีซีและผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภค (CE)

ความแตกต่างระหว่างเก่าและใหม่



AC97 มาตราฐานเก่า รุ่นสูงสุดเป็น 5.1 สามารถพบเจอได้ในเมนบอร์ดรุ่นราคาประหยัด

ส่วน HD Audio เป็นมาตราฐานใหม่ยุค HD 7.1 พบเจอได้ในเมนบอดทั่วไปจนถึงรุ่นดีๆ

มาตรฐานและระบบเสียงและแผงการจัดวาง

 

   เสียงเป็นข้อมูลชนิดหนึ่งที่นำมาใช้งานด้านมัลติมีเดียต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยการนำไปใช้ประโยชน์ในการบันเทิง โดยใช้เสียงและลำโพงในการกระจายข้อมูลเป็นคลื่นความถี่ให้เราได้ยินและทำงานกับการ์ดเสียงระบบเสียงในรูปแบบต่างๆ จะได้คุณภาพเสียงที่ดี ในปัจจุบันระบบเสียงมีการพัฒนาไปในด้านคุณภาพเสียงที่ดีมีการกำหมดให้สมจริงเพื่อเป็นการเพิ่มอรรถรสในการฟัง จึงได้กำหนดมา๖รฐานของคุณภาพเสียงเพื่อให้ได้เสียงที่แตกต่างกันในระบบต่างๆ ที่ใช้เสียงเป็นองค์ประกอบของระบบ
ระบบเสียง 3 มิติ เป็นระบบเสียงเซอร์ราวน์หรือว่าระบบเสียงรอบทิศทาง เป็นระบบเสียงที่ได้พัฒนาขึ้นจากใช้ลำโพงสองตัวในระบบสเตอริโอแบบเดิมเป้ฯการเพิ่มลำโพงในการกระจายเสียงให้รอบทิศทาง จะทำให้เสียงที่เราได้ยินมาได้หลายทิศทางเหมาะสำหรับการชมภาพยนตร์ได้ได้เสียงที่มาจากหลายทางมากขึ้น โดยที่เราไม่จำเป็นต้องไปโรงหนังก็มีระบบเสียงดีๆได้ที่บ้าน โดยจะมีขั้นต่างๆ ในการพัฒนา
ระบบเสียงลำโพง
ระบบเสียงของลำโพงเป็นการกำหนดจำนวนและขนาดของโพงพร้อมด้วยตำแหน่งที่ควรจัดวางจะทำให้ระบบเสียงที่กระจายได้ในตำแหน่งเดียวกับเสียงภาพยนตร์และภาพจะทำงานอย่างสอดคล้องกัน อย่างเช่นเสียงเดินมาจากทางด้านซ้ายเสียงลำโพงด้านซ้ายทั้งหมดจะทำงานให้สอดคล้องกันเมื่อเข้าใกล้ก็จะมีความเข้มข้นของเสียงที่มากขึ้นด้วย ระบบลำโพงนอกจากรอบทิศทางแล้วยังพัฒนาให้มีเสียงทุ้มทำให้เสียงที่ได้ยินแยกอิสระต่อกันเสียงจะทุ้มนุ่มมากขึ้น โดยทาง Dolby Lab เป็นผู้คิดค้นและพัฒนาระบบเสียงที่เราใช้กันทั่วโลกระบบเสียงที่ว่านี้จะถูกตราสัญลักษณ์ไว้ข้างกล่องสินค้าที่ใช้ระบบเสียงนี้ทุกชนิด ซึ่งจะมีการรองรับที่ต่างกัน

 

Dolby_laboratories_dolby_stereo
                
 แบบ 2.1 เป็นระบบเสียงที่มีลำโพง 3 ตัว โดยระบบเสียงรุ่นเดิมจะมีลำโพงแค่สองตัวในระบบสเตอริโอธรรมดาหากเป็น 2.1 จะมีลำโพงอีก 1 ตัว โดยจะดีกว่าระบบเดิมเพียงเล็กน้อยตรงที่ลำโพงที่ให้จะเป็นเสียงทุ้มทำให้เสียงฟังสบายและแยกความแตกต่างของเสียงได้ชัดเจนขึ้น
1-มาตรฐานและระบบเสียง

                แบบ 4.1 จาก 2.1 เป็น 4.1 โดยจะมีการเพิ่มลำโพงด้านหลังอีก 2 ตัว เป็นลำโพงคู่หลังวางไว้ที่ข้างซ้ายและขวา ทำให้ได้รับเสียงระบบรอบทิศทางที่ดีขึ้น
2-มาตรฐานและระบบเสียง
               แบบ 5.1 จะมีลำโพงตรงกลางด้านหน้าอีก 1 ตัว เป็นระบบที่ทำให้ได้รับชมและฟังเสียงภาพยนตร์อย่างเต็มรูปแบบ รองรับ Dolby Digital ด้วย
3-มาตรฐานและระบบเสียง
               แบบ 6.1 เป็นการเพิ่มลำโพงด้านหลังตรงกลางอีกหนึ่งตัว รองรับระบบ Dolby Digital EX หรือ DTS ES แต่เป็นระบบที่ไม่ค่อยได้รับความนิยมส่วนมากจะใช้ 7.1 ไปเลย
4-มาตรฐานและระบบเสียง

              แบบ 7.1 เป็นระบบที่ได้พัฒนามาสูงที่สุดในปัจจุบัน จะมีการเพิ่มลำโพงสองตัว ตรงกลางซ้ายขวา โดยไม่มีลำโพงด้านหลังกลางเหมือนกัน 6.1 แต่ก็ต้องใช้งานร่วมกับการ์ดเสียงที่รองรับระบบนี้ด้วย ทำให้ได้รับเสียงจากภาพยนตร์ที่สมจริงมากที่สุด
5-มาตรฐานและระบบเสียง

การที่เราจะได้รับฟังเสียงที่มีคุณภาพอย่างเต็มขึ้นนั้นนอกจากลำโพงที่มีจำนวนตรงตามมาตรฐานแล้วต้องเป็นลำโพงที่มีเสียงคุณภาพดี นองจากนั้นจำเป็นที่จะต้องมีอุปกรณ์ในการรองรับเสียงชนิดที่มีความสอดคล้องกันทั้งลำโพงและระบบเสียงด้วย


อ้างอิงและเรียบเรียงขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บ


https://goo.gl/X5nhyA
https://goo.gl/DxDd4N
http://ocomp.exteen.com/20080222/ac-8216-97


 

 

 






วันพุธที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ประเภทของ printer และการใช้งาน

ประเภทของ printer และการใช้งาน

         หลายๆ ท่านอาจจะสงสัยว่า printer ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวันนี้  มีกี่ชนิดหรือกี่ประเภท  และแต่แบบมีลักษะอย่างไร  บทความนี้ผมจะขออธิบายให้คุณผู้อ่านทราบถึง  ประเภทของ  printer แบบต่างๆ  และการใช้งานที่แตกต่างกัน   เพื่อที่จะได้เลือกใช้งาน printer แต่ละแบบได้อย่างเหมาะสมครับ

         ประเภทของ printer แบบต่างๆ และการใช้งาน

         1. Dotmatrix printer  เครื่องพิมพ์ประเภทนี้ในสมัยก่อนเคยเป็นที่นิยม  ลักษณะการพิมพ์เป็นแบบใช้หัวเข็ม  และไม่ได้ใช้ตลับหมึกแต่ใช้ผ้าหมึกแทน

             การใช้งาน  มักใช้พิมพ์งานที่ต้องการทำสำเนา  เนื่องจากเครื่องพิมพ์ลักษณะนี้มีแรงกด  และสามารถพิมพ์กระดาษต่อเนื่องได้  และอายุการใช้งานค่อนข้างนาน  แต่มีข้อเสียอยู่ที่คุณภาพงานพิมพ์ต่ำเมื่อเทียบกับ printer ประเภทอื่นๆ  และมีเสียงดังขณะพิมพ์งาน



         2. Inkjet printer  เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทนี้  ในปัจจุบันค่อนข้างได้รับความนิยมค่อนข้างมาก  เนื่องจากราคาที่ไม่สูงจนเกินไป  คุณภาพงานพิมพ์เป็นที่ยอมรับ  และการใช้งานได้ค่อนข้างหลากหลาย  ลักษณะการพิมพ์  จะเป็นการพ่นหมึกพิมพ์เป็นหยดๆ ลงบนกระดาษ

             
การใช้งาน  สามารถพิมพ์งานได้หลากหลาย  เอกสาร, ภาพถ่าย, โปสการ์ด  แต่โดยทั่วไปมักมีขนาดไม่เกิน A3  และมีสินค้าให้เลือกหลายรุ่นตามระดับราคา  และฟังก์ชันที่ต้องการ

         3. Laser printer  ลักษณะการพิมพ์ของ printer ประเภทนี้  ใช้เทคโนโลยีเดียวกับเครื่องถ่ายเอกสาร คือยิงเลเซอร์ไปสร้างภาพบนกระดาษในการสร้างรูปภาพ หรือตัวอักษร ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมาจะมีคุณภาพสูงมากกว่าเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก


             การใช้งาน  เหมาะสำหรับการพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพที่สูงมากขึ้น  เอกสารสำคัญต่างๆ  หรืองานที่ต้องการความคมชัดและสวยงามมากกว่าการพิมพ์อิงค์เจ็ทโดยทั่วไป   แต่เครื่อง print ประเภทนี้มีราคาสูง  และต้นทุนในการใช้งานและบำรุงรักษาก็สูงมากขึ้นด้วย


         4. Plotter เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ลงบนกระดาษที่ทำมาเฉพาะงาน  พล็อตเตอร์ทำงานโดยใช้วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ปากกาได้ 6-8 สี ความเร็วในการทำงานของ พล็อตเตอร์มีหน่วยวัดเป็นนิ้วต่อวินาที (Inches Per Second : IPS) ซึ่งหมายถึงจำนวนนิ้วที่พล็อตเตอร์สามารถ เลื่อนปากกาไปบนกระดาษ
 
             การใช้งานเหมาะสำหรับงานเกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม และงานตกแต่งภายใน ใช้สำหรับวิศวกรรมและสถาปนิก  งานพิมพ์ขนาดใหญ่มีหน้ากว้าง เหมาะสำหรับทำงานด้านป้ายหรือโฆษณา

         5. Multifunction printer  เครื่องพิมพ์ประเภทนี้เป็น printer ที่รวบรวมฟังก์ชันที่หลากหลายในการทำงานไว้ในเครื่องตัวเดียว  เช่น  สามารถ scan, copy หรือรับ-ส่งแฟ็กซ์  ได้ในตัวเอง  ทำให้มีความสะดวกสบายในการใช้งานที่ค่อนข้างมาก  แต่ทั้งนี้ราคาก็มักจะสูงตามความสามารถที่มากขึ้นด้วย

            การใช้งานที่หลากหลายนี้  เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการความคุ้มค่า  และสะดวกสบายในการทำงาน  ซึ่งสามารถเลือกฟังก์ชันจากรุ่นที่มีได้ตามต้องการ

          นอกจากประเภทของ printer ต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว  ยังมีเครื่องพิมพ์ที่สำหรับพิมพ์งานเฉพาะด้าน  อีกหลายแบบด้วยกัน  เช่น  เครื่องพิมพ์ฟิล์ม,  เครื่องพิมพ์สติกเกอร์-ป้ายต่างๆ เป็นต้น  ซึ่ง ผมขอไม่ลงรายละเอียดไปมากกว่านี้แล้วกันนะครับ




อ้างอิงจากเว็บไชต์ : http://print-smart.blogspot.com/2012/05/printer.html

วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

power supply

ใบงานที่ 3


Power Supply
Power Supply หรือเรียกภาษาชาวบ้านว่า ตัวจ่ายไฟสำหรับคอมพิวเตอร์ หน้าที่ของ Power Supply ไม่ใช้แค่เป็นตัวจ่ายไฟอย่างเดียว จริงๆแล้วหน้าที่หลังของ Power Supply คือตัวแปลงไฟล์ฟ้าจากระบบไฟฟ้าบ้านที่มีแรงไฟฟ้าที่เยอะเกินความต้องการของอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ เช่น ไฟฟ้าบ้านในไทยมีไฟฟ้าอยู่ที่ 220 โวลต์ แต่อุปกรณ์บางชนิดต้องการแค่ 3.3 โวลต์ 5 โวลต์ และ 12 โวลต์ ตามลำดับ หรือจะพูดง่ายๆคือ Power Supply เป็นตัวแปลงไฟฟ้าให้เหมาะสมกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นั้นเอง

การพัฒนาของ Power Supply

โดย Power Supply แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ AT และ ATX ซึ้งสำหรับ AT เป็นแบบรุ่นเก่าที่มีสวิชปิดเปิดอยู่ที่ด้านหลัง Power Supply แต่มีปัญหาเวลาปิดเปิดที่สวิช เพราะบางครั้งอุปกรณ์ต้องการไฟจ่ายเลี้ยงอยู่ชั่วขณะหนึ่ง จึงพัฒนามาสู่ ATX ที่สามารถจ่ายไฟได้สม่ำเสมอกว่า โดย รุ่น ATX จะมีส่วนปิดเปิดต่อตรงเข้ากับเมนบอร์ดจึงทำให้ไฟที่ส่งเข้าอุปกรณ์ต่างๆ ที่ยังคงใช้งานอยุ่ได้รับไฟอย่างสม่ำเสมอมากกว่าแบบ AT โดยประเภท Power Supply มีรุ่นอยู่ 3 รุ่นดังนี้ ATX 2.01 แบบ PS/2 , ATX 2.03 แบบ PS/2 และ ATX 2.01 แบบ PS/3

วิธีตรวจเช็ค Power Supply

เมื่อมีอาการเปิดคอมพิวเตอร์ไม่ติด Power Supply เป็นสิ่งแรกๆที่เราควรจะตรวจเช็คว่าทำงานไหม ปกติหรือไม่ Power Supply ที่อยู่ในสภาพไม่พร้อมใช้งาน อาจจะให้อุปกรณ์อื่นๆในคอมพิวเตอร์เสียหายได้ โดยเฉพาะ Harddisk ดังนั้นการหมั่นตรวจสอบสภาพของ Power Supply อยู่เสมอ ถ้าพบว่าเสียหายควรซ่อมแซมหรือเปลี่ยนตัวใหม่
วันนี้ผมจะสอนการตรวจเช็ค Power Supply เบื้องต้น เป็น Power Supply แบบ ATX (แบบที่ใช้ในปัจจุบัน) แค่ให้รู้ว่ามันทำงานอยู่ไหม เพราะบางทีที่คอมเปิดไม่ติดเลยอาจจะเพราะขั้วต่อเข้าเมนบอร์ดหลวมก็เป็นไปได้ วิธีการตรวจสอบง่ายๆ แบบเบื้องต้นนี้จะดูแค่ว่าไฟเข้าไหม ถ้าไฟเข้าพัดลมด้านหลังจะหมุน
ขั้นตอนการตรวจเช็ค Power Supply คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
  • ถอดปลั๊กไฟ
  • เปิดฝาเคสด้านข้างออก
วิธีตรวจเช็ค Power Supply
  • ถอดขั้วคอนเน็คเตอร์ที่ต่อเข้าเมนบอร์ด (ขั้วที่มีสายไฟเยอะๆ) ออก
วิธีตรวจเช็ค Power Supply
  • มองสายไฟสีเขียวและสีดำ
  • ใช้ลวดหรือสายไฟต่อระหว่างสายไฟสีเขียวและสีดำ
วิธีตรวจเช็ค Power Supply
  • เสียบปลั๊กไฟเข้า Power Supply
  • สังเกตดูที่พัดลมว่าหมุนไหม
  • ถ้าพัดลมหมุนแสดงว่า Power Supply อาจจะยังใช้งานได้ปกติ ให้ไปตรวจเช็คการเสียบขั้วต่อหรือเมนบอร์ด
  • แต่ ถ้าพัดลมไม่หมุน แสดงว่า Power Supply ไม่ทำงานแน่นอน ซึ่งถ้าใครเป็นช่างก็ให้เช็คที่ Fuse,Bridge,Switching หรือ IC Regulator เป็นต้น
  • ส่วนคนที่ซ่อม Power Supply ก็จัดการซื้อมาเปลี่ยนได้เลย โดยดูค่าต่างๆ เช่น กำลังไฟฟ้า, แรงดัน และกระแสไฟ เป็นต้น ค่าเหล่านี้จะอยู่ที่ฉลากข้างตัว Power Supply ทุกตัว
วิธีตรวจเช็ค Power Supply
จริงๆแล้วถ้ามีมิเตอร์วัดไฟมาวัดสายไฟแต่ละเส้นได้จะดีมากค่าเหล่านี้ของสายไฟแต่ละสีคือค่าที่ควรนจะเป็น
ดำ + ดำ = 0 V
ดำ + แดง = 5 V
ดำ + ขาว = -5 V
ดำ + น้ำเงิน = -12 V
ดำ + ส้ม = 5 V
ดำ + เหลือง = 3.3 V
ดำ + น้ำตาล = 12 V

          มาต่อกันจากครั้งที่แล้ว ที่พูดถึงเรื่อง Power Supply 80Plus แต่ละแบบ แต่ละสี บทความนี้เป็นการจำแนกสีของสายแต่ละเส้น ว่ามีหน้าที่ทำอะไร จ่ายไฟกี่โวลล์ รวมไปถึงวิธีวัดไฟ เช็คประสิทธิภาพการจ่ายไฟแบบคร่าวๆ ไว้ทดสอบกันเองได้ง่ายๆที่บ้าน ซึ่งไม่ยากแล้วก็รับรองว่าปลอดภัยแน่นอนหากทำถูกวิธี แต่ก่อนอื่นนั้นเราต้องเรียนรู้ความหมายของสายแต่ละเส้นแต่ละสีกันก่อน
โดยรูปแบบ PSU ที่เราใช้ใสเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ ATX หรือชื่อเต็มๆว่า Advanced Technology eXtended ซึ่งเป็นรูปแบบของเพาเวอร์ซัพพลายที่มีมานานมากแล้ว โดยพัฒนากันมาตั้งแต่ปี 1995 จนถึงตอนนี้ก็เป็น Advanced Technology eXtended V2.4 ที่มีสายไฟหลักเป็น ATX 24Pin สำหรับจ่ายไฟให้ Mainboard แต่หลักๆเลยเราจะใช้งานกันแค่ 3 สีเท่านั้น ได้แก่ 3.3V 5V และ 12V ที่เป็นสายสี ส้ม แดง และเหลือง ตามลำดับ โดยสายสามสีนี้จะทำงานควบคู่กันกับสายไฟ "สีดำ" ที่ทำหน้าที่เป็น Ground ตามหลักการทำงานของไฟ DC หรือไฟกระแสตรง ที่ต้องมี่ + และ - จึงจะจ่ายไฟเข้าสู่อุปกรณ์ได้นั่นเองครับ (อธิบายง่ายๆแล้วกัน อันที่จริงมึนลึกกว่านี้ครับ)

PSU ทุกวันนี้ก็มีกันทั้งรุ่นที่ถอดสายได้ (จะนิยมเรียกว่า PSU แบบถอดสายได้ว่า "Modulars" )
และถอดสายไม่ได้ในรุ่นที่ต้นทุนไม่สูง มีหัว Connectors สีแตกต่างกันออกไป แต่หลักๆจะมี Connector มาให้เหมือนๆกัน
ได้แก่ ATX 24PIN , 4+4 หรือ 8Pin , 6PIN PCIe ,6+2PIN PCIe , 8 PIN PCIe , SATA , Molex และ FDD เป็นต้น

Color
  12V
  ค่า Error ไม่เกิน 10%   (11.4-12.6V)
  5V
  ค่า Error ไม่เกิน 5%   (4.75-5.25V)
  3.3V
  ค่า Error ไม่เกิน 5%   (3.135-3.465V)
  Ground
อย่างที่เกริ่นไว้ตอนต้น หลักๆระบบจะใช้สายไฟแค่ 3 สีนี้เท่านั้น ได้แก่ 3.3V 5V และ 12V ที่เป็นสายสี ส้ม แดง และเหลือง
ซึ่งทาง Plug Load Solution ได้กำหนดค่า Error ในการจ่ายไฟของแต่ละแรงดันไว้ตามตารางด้านบนครับ
ATX Connector

 ATX Main Connector (24PIN)
แผนผังการจัดวางของสายแต่ละเส้น โดยจะมีเป็นสาย สีเขียว สีน้ำเงิน เทา น้ำตาล และ ม่วง เพิ่มเข้ามา
สำหรับใช้งานเฉพาะจุด และเพื่อการตรวจเช็คของระบบ
ข้อมูลจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/ATX
CPU Power Connector

12V สำหรับจ่ายไฟเลี้ยงให้กับ CPU โดยจะมีหลายรูปแบบมาให้ด้วยกัน ตามขนาดการจ่ายไฟของเพาเวอร์ซัพพลายรุ่นนั้นๆ
ในรุ่นเล็กๆ จะมีเป็น 4Pin มาให้เส้นเดียวสำหรับหน่วยประมวลผลที่ไม่กินไฟมากนัก และระดับกลางก็จะเป็น 4+4 หรือ 8 Pin มาให้
ส่วนรุ่นใหญ่ๆ เกิน 1000W ขึ้นไปจะมีเป็น 4+4 หรือ 8Pin มาให้มากกว่า 1 หัว
ซึ่งสายสีเหลืองเป็นไฟ 12V
และสายสีดำเป็น Com หรือ Ground นั่นเองครับ
PCI-e Power Connector

สาย PCI-E จะมี 3 รูปแบบ ได้แก่ 6PIN 6+2PIN และ 8Pin
สำหรับจ่ายไฟเลี้ยงให้กับกราฟฟิกส์การ์ด ซึ่งแต่ละรุ่นก็จะมีมาให้ในจำนวนที่ต่างกัน ตามขนาดการจ่ายไฟ และรูปแบบการจ่ายไฟ 12V
แผนผังของหัว 8PIN PCIe หลักๆจะเน้นใช้เป็นไฟ 12V
และเพิ่ม Ground มาอีก 2 เส้นเพราะจะใช้กระแสไฟมากกว่า 6PIN
ซึ่งจะขึ้นอยู่กับอัตราการกินไฟของกราฟฟิกส์การ์ดด้วย
SATA Power Connector

หัว SATA จะซับซ้อนมากกว่าหัวอื่นๆ ใช้ทั้งไฟ 12V 5V และ 3.3V เพื่อจ่ายไฟไปยังฮาร์ดดิสก์ และ SSD รวมไปถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ใช้เป็นหัวแบบนี้
PIN ของหัว SATA จะละเอียดมาก
12V 5V 3.3V จำนวน 3 PIN
สลับกันกับ COM หรือ Ground
PATA Power Connector

หัว Molex หรือบางคนจะเรียกว่า PATA ซึ่งย่อมาจาก Parallel Advanced Technology Attachment
จะนิยมใช้กับ Harddisk รุ่นเก่า และอุปกรณ์บางชิ้นในปัจจุบัน จะมีไฟ 12V กับ 5V มาให้อย่างละเส้น
จะมีไฟ 12V กับ 5V มาให้อย่างละเส้น
How to : Check Voltage

สำหรับใครที่อยากวัดว่าเพาเวอร์ซัพพลายของเรา จ่ายไฟให้อุปกรณ์แต่ละชิ้นเต็มเม็ดเต็มหน่วยหรือไม่ สามารถวัดได้ทั้งบน Software และในหน้า BIOS แต่ต้องบอกก่อนว่ามันจะไม่ตรงกับความเป็นจริงครับ ที่ชัวร์ที่สุดคือวัดแบบต่อตรงขณะใช้งานจริงเลย โดยการใช้ Volt Meter ปรับเป็นการวัดไฟแบบ DC แล้วนำสายสีแดงจิ้มไปที่สายที่เป็นสีๆ ที่เราอยากจะวัด และสายสีดำต่อเข้ากับ Ground เส้นที่คู่กัน (อันที่จริง Ground เส้นไหนก็ได้) ก็จะได้ไฟออกมาแสดงผลบนหน้าจอของ Volt Meter แล้วทำการเทียบกับตารางแรกด้านบนว่าจ่ายได้ตามมาตฐานหรือเปล่า ถ้าน้อยไปหรือมากเกินไฟ แนะนำให้ส่งเคลมครับ ไม่อย่างงั้นจะพาเอาอุปกรณ์ตัวอื่นลาโลกไปก่อนวัยอันควร แต่ส่วนมากจะหมดประกันก่อนไฟดรอป เพราะเพาเวอร์ซัพพลายส่วนใหญ่ แบรนด์ดังๆ จะทำการทดสอบการจ่ายไฟก่อนออกจากโรงงานมาแล้วทุกตัวครับ อายุการใช้งานก็จะอยู่ที่ 3-5 ปีในรุ่นล่างๆ และเป็น 10 ปีในรุ่นที่กำลังกายจ่ายไฟสูงๆ

วันพุธที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Date CPU I7-7700

       

  ใบงานที่ 1

 

      Intel® Core™ i7-7700 Processor   

  8M Cache, up to 4.20 GHz

 สิ่งจำเป็น


  • คอลเลกชั่นผลิตภัณฑ์ 7th Generation Intel® Core™ i7 Processors
  • ชื่อรหัส                                     Kaby Lake 
  • เซ็กเมนต์แนวตั้ง                              Desktop
  • หมายเลขโปรเซสเซอร์                         i7-7700
  • สถานะ                                     Launched
  • วันที่วางจำหน่าย                              Q1'17
  • การทำลวดลายวงจร                           14 nm
  • ราคาที่แนะนำสำหรับลูกค้า                       $303.00 - $312.00

ประสิทธิภาพ


  • # คอร์                                     4
  • # เธรด                                    8
  • ความถี่พื้นฐานของโปรเซสเซอร์                   3.60 GHz
  • ความถี่เทอร์โบสูงสุด                           4.20 GHz
  • แคช                                       8 MB SmartCache
  • ความเร็ว                                   Bus 8 GT/s DMI3
  • # ลิงก์                                     QPI 0
  • TDP                                       65w
  • ข้อมูลจำเพาะหน่วยความจำ

    • ขนาดหน่วยความจำสูงสุด (ขึ้นอยู่กับประเภทของหน่วยความจำ) 64 GB
    • ประเภทของหน่วยความจ   DDR4-2133/2400, DDR3L-1333/1600 @ 1.35V
    • # แชนเนลหน่วยความจำสูงสุด                2
    • รองรับหน่วยความจำ ECC                 ไม่ใช่

    ข้อมูลจำเพาะระบบกราฟิก

    • กราฟิกโปรเซสเซอร์ ‡       Intel® HD Graphics 630
    • ความถี่พื้นฐานสำหรับกราฟิก                350.00 MHz
    • ความถี่แบบไดนามิกสูงสุดสำหรับกราฟิก        1.15 GHz
    • หน่วยความจำสูงสุดของวิดีโอกราฟิก          64 GB
    • การสนับสนุน                           4K Yes, at 60Hz
    • ความละเอียดสูงสุด        (HDMI 1.4)‡ 4096x2304@24Hz
    • ความละเอียดสูงสุด        (DP)‡ 4096x2304@60Hz
    • ความละเอียดสูงสุด (eDP - Integrated Flat Panel)‡ 4096x2304@60Hz
    • การสนับสนุน                        DirectX* 12
    • การสนับสนุน                        OpenGL* 4.4
    • Intel® Quick Sync Video               ใช่
    • เทคโนโลยี Intel® InTru™ 3D             ใช่
    • Intel® Clear Video HD Technology      ใช่
    • Intel® Clear Video Technology         ใช่
    • # ของจอแสดงผลที่รองรับ                  3
    • ID อุปกรณ์                              0x5912

    ตัวเลือกการขยาย

    • วามสามารถในการปรับขนาด          1S Only
    • การปรับปรุงแก้ไข                   PCI Express 3.0
    • การกำหนดค่า PCI Express Up to 1x16, 2x8, 1x8+2x4
    • # สูงสุดของเลน                    PCI Express 16

    ข้อมูลจำเพาะของแพ็คเกจ

    • รองรับซ็อกเก็ต                      FCLGA1151
    • การปรับตั้งค่า CPU สูงสุด              1
    • ข้อมูลจำเพาะของชุดระบายความร้อน      PCG 2015C (65W)
    • TJUNCTION                          100°C
    • ขนาดแพ็คเกจ                       37.5mm x 37.5mm
    • มีตัวเลือกชนิดฮาโลเจนต่ำให้เลือกใช้ ดู    MDDS

    เทคโนโลยีขั้นสูง

    • สนับสนุนหน่วยความจำ Intel® Optane™      ใช่
    • เทคโนโลยี Intel® Turbo Boost         2.0
    • เทคโนโลยี Intel® vPro™                ใช่
    • Intel® Hyper-Threading Technology   ใช่
    • เทคโนโลยีเวอร์ชวลไลเซชัน Intel® (VT-x) ใช่
    • เทคโนโลยีเวอร์ชวลไลเซชัน Intel® สำหรับ Directed I/O (VT-d) ใช่
    • Intel® VT-x ที่มี Extended Page Tables (EPT)   ใช่
    • Intel® TSX-NI                                ใช่
    • Intel® 64                                   ใช่
    • ชุดคำสั่ง                                   64-bit
    • ส่วนขยายชุดคำสั่ง               SSE4.1/4.2, AVX 2.0
    • สถานะไม่ได้ใช้งาน                               ใช่
    • Enhanced Intel SpeedStep® Technology         ใช่
    • เทคโนโลยีการติดตามความเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ        ใช่
    • เทคโนโลยีการป้องกันข้อมูลส่วนตัวจาก Intel®          ใช่
    • Intel® Stable Image Platform Program (SIPP)  ใช่

    Intel® Data Protection Technology

    • คำสั่งใหม่ของ Intel® AES                          ใช่
    • Secure Key                                     ใช่
    • Intel® Software Guard Extensions (Intel®SGX)   ใช่
    • Intel® Memory Protection Extensions (Intel® MPX)  ใช่

    Intel® Platform Protection Technology

    • OS Guard                                       ใช่
    • Trusted Execution Technology                  ใช่
    • Execute Disable Bit                            ใช่
    • Intel® Device Protection Technology พร้อมด้วย Boot Guard ใช่